ประเภทและชนิดของเกมมีดังนี้
เกมออนไลน์ Online Game
เกมผ่านเว็บ
Flash Game
เกมแบบใช้โปรแกรมทำงานผ่านเว็บโดยไม่ไม่ติดตั้ง
Game Program ใช้โปรแกรมติดตั้งก่อนเล่น
3D Game เช่น ปังย่า, เคาเตอร์
เกมไม่ออนไลน์ Off Line Game
Game computer 3D
DVD Game Install
Small Game เช่น Pinball ,เกมยิงลูกแก้ว
Game Console
Portable Game เช่น PSP, Game Boy
1.เกมเลียนแบบหรือการจำลอง (Simulation Games) เช่น SIMS ซึ่งเป็นเกมที่พยายามเลียนแบบเหตุการณ์จริง เพื่อพัฒนาทักษะของผู้เล่น เช่น การฝึกบินจำลอง การขับรถจำลอง ตัวอย่างเกมประเภทนี้ คือ Flight SIM
2.เกมแอคชั่นแบบ FPS(Action First Person Shooters Games) เป็นเกมยิงปืนที่ผู้เล่นเป็นตัวเอกไล่ยิงผู้ร้าย ไปจนถึงสัตว์ประหลาดต่าง ๆ ตามระดับการเล่น มีทั้งเล่นแบบคนเดียวและเล่นเป็นกลุ่ม ตัวอย่างเกมประเภทนี้ได้แก่ Doom,Half-Life,Quake III
3.เกมผจญภัย (Adventure Games) มีวัตถุประสงค์ของเกมเพื่อทำภารกิจให้สำเร็จในดินแดนที่สร้างขึ้น ต้องแก้ไขปัญหาหรือหาสิ่งจำเป็นในระดับของเกมที่แตกต่างกันไป เช่น หากุญแจเพื่อไขเปิดห้องลับเพื่อไปหยิบอาวุธ เกมประเภทนี้ได้แก่ Myst ,Zelda
4.เกม RPG (Role-Playing) เป็นเกมที่ผู้เล่นสามารถสร้างหรือเลือก character ของตัวละครให้ตรงกับความชอบของตัวเอง แล้วเล่นไปตามเนื้อเรื่องของเกม ตัวอย่างเกมประเภทนี้ ได้แก่ Racknaroc,Diablo II
5.เกมต่อสู้ (Fighting Game) เป็นเกมต่อสู้กันโดยมีตัวละครต่อสู้กันแบบตัวต่อตัว ด้วยเทคนิคการต่อสู้เฉพาะตัว ตัวอย่างเกมประเภทนี้ ได้แก่ Mortal Kombat,Boxing
6.เกมวางแผน (Strategy Games) เกมที่ใช้ความคิด นำกลยุทธ์มาใช้เพื่อเอาชนะ เกมมีเรื่องราวเป็นนิทาน หรือตำนาน มีตัวละครนำและการผูกเรื่องเข้ากับการต่อสู้และวางแผนในเกม ตัวอย่างเกมประเภทนี้ ได้แก่ checkers,Age of Mythology
7.เกมปริศนา (Puzzle Game) เกมแก้ปัญหาให้ลุล่วงตามจุดประสงค์หลักของเกม เช่น Tetris(เกมตัวต่อ นั่นเอง)
8.เกมกีฬาและการแข่งขัน (Sport & Racing Games) วัตถุประสงค์ของเกมเพื่อการเป็นที่หนึ่งของการแข่งขัน เช่น แข่งรถ แข่งฟุตบอล เช่น FIFA Soccer
9.เกมการศึกษา วัตถุประสงค์เพื่อให้ได้ความรู้และความเพลิดเพลิน
ผลกระทบที่เกิดจากเกมในด้านสังคมและผลกระทบที่เกิดจากเกมในด้านของผู้เล่น
แม้ว่าเกมส์ออนไลน์จะเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นและได้รับความนิยมมาก่อนหน้านี้สัก 2-3 ปีมานี้แล้วแต่ในปี 2547 ดูเหมือนประเด็นนี้กลายเป็นประเด็กที่มีการกล่าวขวัญถึงไม่น้อยโดยเฉพาะในแวดวงเด็กและเยาวชน เกมชนิดนี้เริ่มระบาดลุกลามจนยากจะยับยั้ง จนเกิดภาวะ “เด็กติดเกม” ประเภทไม่ยอมทำอะไรนอกจากเล่นเกมออนไลน์ไปวันๆ หรือเด็กหนีเรียนไปเล่นเกมจนถึงผลกระทบต่อสุขภาพทั้งทางร่างกายและจิตใจ สุดท้ายมันก็กลายเป็นปัญหา เช่น เด็กก้าวร้าวรุนแรงและหมกมุ่นในเรื่องเพศ เป็นต้น
เกมผ่านเว็บ
Flash Game
เกมแบบใช้โปรแกรมทำงานผ่านเว็บโดยไม่ไม่ติดตั้ง
Game Program ใช้โปรแกรมติดตั้งก่อนเล่น
3D Game เช่น ปังย่า, เคาเตอร์
เกมไม่ออนไลน์ Off Line Game
Game computer 3D
DVD Game Install
Small Game เช่น Pinball ,เกมยิงลูกแก้ว
Game Console
Portable Game เช่น PSP, Game Boy
1.เกมเลียนแบบหรือการจำลอง (Simulation Games) เช่น SIMS ซึ่งเป็นเกมที่พยายามเลียนแบบเหตุการณ์จริง เพื่อพัฒนาทักษะของผู้เล่น เช่น การฝึกบินจำลอง การขับรถจำลอง ตัวอย่างเกมประเภทนี้ คือ Flight SIM
2.เกมแอคชั่นแบบ FPS(Action First Person Shooters Games) เป็นเกมยิงปืนที่ผู้เล่นเป็นตัวเอกไล่ยิงผู้ร้าย ไปจนถึงสัตว์ประหลาดต่าง ๆ ตามระดับการเล่น มีทั้งเล่นแบบคนเดียวและเล่นเป็นกลุ่ม ตัวอย่างเกมประเภทนี้ได้แก่ Doom,Half-Life,Quake III
3.เกมผจญภัย (Adventure Games) มีวัตถุประสงค์ของเกมเพื่อทำภารกิจให้สำเร็จในดินแดนที่สร้างขึ้น ต้องแก้ไขปัญหาหรือหาสิ่งจำเป็นในระดับของเกมที่แตกต่างกันไป เช่น หากุญแจเพื่อไขเปิดห้องลับเพื่อไปหยิบอาวุธ เกมประเภทนี้ได้แก่ Myst ,Zelda
4.เกม RPG (Role-Playing) เป็นเกมที่ผู้เล่นสามารถสร้างหรือเลือก character ของตัวละครให้ตรงกับความชอบของตัวเอง แล้วเล่นไปตามเนื้อเรื่องของเกม ตัวอย่างเกมประเภทนี้ ได้แก่ Racknaroc,Diablo II
5.เกมต่อสู้ (Fighting Game) เป็นเกมต่อสู้กันโดยมีตัวละครต่อสู้กันแบบตัวต่อตัว ด้วยเทคนิคการต่อสู้เฉพาะตัว ตัวอย่างเกมประเภทนี้ ได้แก่ Mortal Kombat,Boxing
6.เกมวางแผน (Strategy Games) เกมที่ใช้ความคิด นำกลยุทธ์มาใช้เพื่อเอาชนะ เกมมีเรื่องราวเป็นนิทาน หรือตำนาน มีตัวละครนำและการผูกเรื่องเข้ากับการต่อสู้และวางแผนในเกม ตัวอย่างเกมประเภทนี้ ได้แก่ checkers,Age of Mythology
7.เกมปริศนา (Puzzle Game) เกมแก้ปัญหาให้ลุล่วงตามจุดประสงค์หลักของเกม เช่น Tetris(เกมตัวต่อ นั่นเอง)
8.เกมกีฬาและการแข่งขัน (Sport & Racing Games) วัตถุประสงค์ของเกมเพื่อการเป็นที่หนึ่งของการแข่งขัน เช่น แข่งรถ แข่งฟุตบอล เช่น FIFA Soccer
9.เกมการศึกษา วัตถุประสงค์เพื่อให้ได้ความรู้และความเพลิดเพลิน
ผลกระทบที่เกิดจากเกมในด้านสังคมและผลกระทบที่เกิดจากเกมในด้านของผู้เล่น
แม้ว่าเกมส์ออนไลน์จะเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นและได้รับความนิยมมาก่อนหน้านี้สัก 2-3 ปีมานี้แล้วแต่ในปี 2547 ดูเหมือนประเด็นนี้กลายเป็นประเด็กที่มีการกล่าวขวัญถึงไม่น้อยโดยเฉพาะในแวดวงเด็กและเยาวชน เกมชนิดนี้เริ่มระบาดลุกลามจนยากจะยับยั้ง จนเกิดภาวะ “เด็กติดเกม” ประเภทไม่ยอมทำอะไรนอกจากเล่นเกมออนไลน์ไปวันๆ หรือเด็กหนีเรียนไปเล่นเกมจนถึงผลกระทบต่อสุขภาพทั้งทางร่างกายและจิตใจ สุดท้ายมันก็กลายเป็นปัญหา เช่น เด็กก้าวร้าวรุนแรงและหมกมุ่นในเรื่องเพศ เป็นต้น
ในปี 2547 นี่เองที่ได้มีความพยายามจากองค์กรต่าง ๆ ในการทำวิจัยถึงปัญหาและผลกระทบที่เกิดจากการเล่นเกมออนไลน์ โดยการวิจัยชิ้นหนึ่งได้เปิดเผยว่าเด็กที่มีพฤติกรรมการติดเกมออนไลน์หรือเกมคอมพิวเตอร์วันละ 3 ชั่วโมงติดต่อกันเป็นเวลา 15 สัปดาห์จะส่งผลให้เกิดการเสพติดเกมเช่นเดียวกับยาเสพติดเนื่องจากผู้ติดเกมจะมีการหลั่งสารชนิดเดียวกับแอมเฟตามีนที่ผู้ติดยาเสพติดหลั่งออกมาโดยมีสาเหตุจากการมีพฤติกรรมซ้ำ ๆ นั่นเอง ความรุนแรงของการเสพติดเกมสามารถแบ่งออกเป็น 3 ระยะ ได้แก่ ระยะเริ่มติดเด็กจะใช้เวลากับการเล่นเกมมากกว่าการทำกิจกรรมอื่นๆ ส่วนระยะที่ 2 คือ
เด็กเริ่มมีปัญหาด้านความสัมพันธ์กับครอบครัว ใช้เงินส่วนใหญ่ไปกับการเล่นเกมและระยะสุดท้ายซึ่งเป็นระยะร้ายแรง คือ เด็กจะติดเกมเหมือนติดยาเสพติด ไม่ยอมทานอาหาร ไม่เรียนหนังสือและขาดความสัมพันธ์กับบุคคลในครอบครัว ซึ่งหากถึงระยะนี้แล้วผู้ปกครองคงต้องเร่งให้ความช่วยเหลือพร้อมนำบุตรหลานไปพบจิตแพทย์เป็นการด่วนเสียแล้วนอกจากผลกระทบทางด้านสุขภาพกายแล้ว ในเรื่องของจิตใจและอารมณ์ก็นับว่ามีผลไม่น้อยเนื่องจากเกมออนไลน์ส่วนใหญ่มีภาพของความรุนแรง เพราะช่วยสร้างความตื่นเต้นให้กับผู้เล่นได้มากขึ้น เช่น เกมสงคราม เกมการต่อสู้ การใช้เล่ห์เหลี่ยม รวมไปถึงความรุนแรงทางเพศ เป็นต้น
ด้วยเหตุเหล่านี้นี่เองจึงทำให้เกิดกรณีหนึ่งที่ปรากฏในหน้าข่าวหนังสือพิมพ์หน้าหนึ่งที่คุณแม่ท่านหนึ่ง ล่ามโซ่ลูกชายเอาไว้ เนื่องจากลูกชายชอบหนีเรียนไปเล่นเกมออนไลน์ จนกลายเป็นข่าวขึ้นมา
นี่ก็เป็นวิธีการจัดการของคุณพ่อคุณแม่ประการหนึ่ง แต่ดูเหมือนจะเป็นวิธีการที่ไม่ค่อยเข้าท่านัก แต่สำหรับเด็กๆ อีกหลาย ๆ คนที่กำลังรอคอยการแก้ไขและการจัดการจากคุณพ่อคุณแม่คิดว่าคงถึงเวลาที่คุณพ่อคุณแม่ต้องสรรหาวิธีการที่ดีเพื่อจัดการกับปัญหาที่เกิดขึ้นกับลูกหลานบ้างแล้ว
ทำอย่างไรจึงจะเล่นให้ถูกที่ถูกทาง ถูกกาลเทศะและมีประโยชน์
จากสถานการณ์ที่เป็นอยู่ นั่นคือ เกมคอมพิวเตอร์เป็นส่วนหนึ่งในชีวิตของเด็กและเยาวชนไทยอีกทั้งยังแทรกซึมสู่บ้านเรือนนับล้านๆ โดยเกมยอดนิยมคือเกมประเภทต่อสู้ ใช้ความรุนแรง ขณะที่พ่อแม่ผู้ปกครองไม่ได้เข้าไปดูแลความเป็นไปอย่างใกล้ชิดเท่าที่ควร จนอาการ “ติดเกม” กลายเป็นสิ่งที่พบได้กับเด็กทั่วไป คุณหมอวินัดดาได้ให้ข้อแนะนำในการ “แก้เกม” เมื่อประสบปัญหาดังกล่าวเอาไว้ดังนี้
1. ตกลงกติกากันให้ชัดเจน พยายามให้ลด หรือเลิก ถ้าลด ให้จัดเวลากันใหม่ลดเวลาเล่นลงทีละน้อย เช่น เดิมเล่นทุกวัน วันละ 3 ชั่วโมง ลดลงดังนี้ สัปดาห์แรก ให้เล่นวันละ 2 ชั่วโมง สัปดาห์ที่ 2 ให้เล่นวันละ 1 ชั่วโมง สัปดาห์ที่ 3 ให้เล่นเฉพาะ เสาร์-อาทิตย์ ไม่เกินวันละ 1 ชั่วโมง ถ้าเลิกเล่นเกมให้จัดกิจกรรมทดแทนเวลาที่เคยเล่นทันที กิจกรรมควรสนุกก่อนให้เด็กเพลิดเพลิน เบนความสนใจไปจากเกม
2. การเอาจริงกับข้อตกลง ด้วยสีหน้า ท่าทาง
3. ตกลงทดลองปฏิบัติเป็นเวลาที่แน่นอน เช่น ทดลองปฏิบัติเป็นเวลา 1 เดือน แล้วกลับมาประเมินผลร่วมกัน หาทางปรับเปลี่ยนแก้ไข
4. กำหนดทางปฏิบัติเมื่อเกิดปัญหาเช่น ถ้าลูกไม่ทำตาม แม่จะทำอะไรจะให้ช่วยอย่างไร 5. มีการบันทึกผลการช่วยเหลือ และนำมาพูดคุยกันเป็นระยะๆ ชมในเรื่องที่ได้ทำไปแล้วได้ผลดี ข้อใดยังทำไม่ได้ ให้กลับมาติดตามงาน
6. ประเมินผลเมื่อครบเวลาที่ตกลงกันไว้
7. ปรับกติกากันใหม่ถ้ามีปัญหาความร่วมมือ หรือทำไม่ได้
8. จูงใจให้อยากเลิกด้วยตนเอง
9. สร้างความสามารถในการควบคุม เสริมทักษะการควบคุมตนเอง
10.จัดสิ่งแวดล้อมให้สงบ ไม่มีสิ่งกระตุ้นเรื่องเกม
11.จัดกิจกรรมให้ใช้เวลาที่เคยเล่นเกม เป็นกิจกรรมที่สนุกอย่างอื่น อย่าปล่อยให้ว่าง
เด็กเริ่มมีปัญหาด้านความสัมพันธ์กับครอบครัว ใช้เงินส่วนใหญ่ไปกับการเล่นเกมและระยะสุดท้ายซึ่งเป็นระยะร้ายแรง คือ เด็กจะติดเกมเหมือนติดยาเสพติด ไม่ยอมทานอาหาร ไม่เรียนหนังสือและขาดความสัมพันธ์กับบุคคลในครอบครัว ซึ่งหากถึงระยะนี้แล้วผู้ปกครองคงต้องเร่งให้ความช่วยเหลือพร้อมนำบุตรหลานไปพบจิตแพทย์เป็นการด่วนเสียแล้วนอกจากผลกระทบทางด้านสุขภาพกายแล้ว ในเรื่องของจิตใจและอารมณ์ก็นับว่ามีผลไม่น้อยเนื่องจากเกมออนไลน์ส่วนใหญ่มีภาพของความรุนแรง เพราะช่วยสร้างความตื่นเต้นให้กับผู้เล่นได้มากขึ้น เช่น เกมสงคราม เกมการต่อสู้ การใช้เล่ห์เหลี่ยม รวมไปถึงความรุนแรงทางเพศ เป็นต้น
ด้วยเหตุเหล่านี้นี่เองจึงทำให้เกิดกรณีหนึ่งที่ปรากฏในหน้าข่าวหนังสือพิมพ์หน้าหนึ่งที่คุณแม่ท่านหนึ่ง ล่ามโซ่ลูกชายเอาไว้ เนื่องจากลูกชายชอบหนีเรียนไปเล่นเกมออนไลน์ จนกลายเป็นข่าวขึ้นมา
นี่ก็เป็นวิธีการจัดการของคุณพ่อคุณแม่ประการหนึ่ง แต่ดูเหมือนจะเป็นวิธีการที่ไม่ค่อยเข้าท่านัก แต่สำหรับเด็กๆ อีกหลาย ๆ คนที่กำลังรอคอยการแก้ไขและการจัดการจากคุณพ่อคุณแม่คิดว่าคงถึงเวลาที่คุณพ่อคุณแม่ต้องสรรหาวิธีการที่ดีเพื่อจัดการกับปัญหาที่เกิดขึ้นกับลูกหลานบ้างแล้ว
ทำอย่างไรจึงจะเล่นให้ถูกที่ถูกทาง ถูกกาลเทศะและมีประโยชน์
จากสถานการณ์ที่เป็นอยู่ นั่นคือ เกมคอมพิวเตอร์เป็นส่วนหนึ่งในชีวิตของเด็กและเยาวชนไทยอีกทั้งยังแทรกซึมสู่บ้านเรือนนับล้านๆ โดยเกมยอดนิยมคือเกมประเภทต่อสู้ ใช้ความรุนแรง ขณะที่พ่อแม่ผู้ปกครองไม่ได้เข้าไปดูแลความเป็นไปอย่างใกล้ชิดเท่าที่ควร จนอาการ “ติดเกม” กลายเป็นสิ่งที่พบได้กับเด็กทั่วไป คุณหมอวินัดดาได้ให้ข้อแนะนำในการ “แก้เกม” เมื่อประสบปัญหาดังกล่าวเอาไว้ดังนี้
1. ตกลงกติกากันให้ชัดเจน พยายามให้ลด หรือเลิก ถ้าลด ให้จัดเวลากันใหม่ลดเวลาเล่นลงทีละน้อย เช่น เดิมเล่นทุกวัน วันละ 3 ชั่วโมง ลดลงดังนี้ สัปดาห์แรก ให้เล่นวันละ 2 ชั่วโมง สัปดาห์ที่ 2 ให้เล่นวันละ 1 ชั่วโมง สัปดาห์ที่ 3 ให้เล่นเฉพาะ เสาร์-อาทิตย์ ไม่เกินวันละ 1 ชั่วโมง ถ้าเลิกเล่นเกมให้จัดกิจกรรมทดแทนเวลาที่เคยเล่นทันที กิจกรรมควรสนุกก่อนให้เด็กเพลิดเพลิน เบนความสนใจไปจากเกม
2. การเอาจริงกับข้อตกลง ด้วยสีหน้า ท่าทาง
3. ตกลงทดลองปฏิบัติเป็นเวลาที่แน่นอน เช่น ทดลองปฏิบัติเป็นเวลา 1 เดือน แล้วกลับมาประเมินผลร่วมกัน หาทางปรับเปลี่ยนแก้ไข
4. กำหนดทางปฏิบัติเมื่อเกิดปัญหาเช่น ถ้าลูกไม่ทำตาม แม่จะทำอะไรจะให้ช่วยอย่างไร 5. มีการบันทึกผลการช่วยเหลือ และนำมาพูดคุยกันเป็นระยะๆ ชมในเรื่องที่ได้ทำไปแล้วได้ผลดี ข้อใดยังทำไม่ได้ ให้กลับมาติดตามงาน
6. ประเมินผลเมื่อครบเวลาที่ตกลงกันไว้
7. ปรับกติกากันใหม่ถ้ามีปัญหาความร่วมมือ หรือทำไม่ได้
8. จูงใจให้อยากเลิกด้วยตนเอง
9. สร้างความสามารถในการควบคุม เสริมทักษะการควบคุมตนเอง
10.จัดสิ่งแวดล้อมให้สงบ ไม่มีสิ่งกระตุ้นเรื่องเกม
11.จัดกิจกรรมให้ใช้เวลาที่เคยเล่นเกม เป็นกิจกรรมที่สนุกอย่างอื่น อย่าปล่อยให้ว่าง
ตัวอย่างเกมส์บนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างเกมส์บนมือถือ ทั้งระบบ Android และ ios
ประโยชน์เเละโทษของการเล่นเกมส์
ประโยชน์ของเกมส์
1. เล่นเพื่อความคลายเครียด
2. เล่นเพื่อความสนุกสนาน
โทษของเกมส์
1. ทำให้เสียเวลาไปโดยสูญเปล่า
2. ไม่มีเวลาให้คนรอบข้าง
3. ทำให้สายตาเสีย
4. ไม่ได้ออกไปพบปะสังคมกับผู้อื่น
5. ทำให้เสียการเรียนได้
โทษของเกมส์มีมากกว่าประโยชน์ของเกมส์ เพราะฉะนั่นควรเล่นเกมส์เป็นเวลา เเบ่งเวลาเป็นว่าต้องควรทำอะไร ถ้าเล่นควรเล่นแบบไมให้เดือดร้อยกับคนรอบค้าง เเละเล่นโดยไม่ให้เสียการเรียนเเละควรเเบ่งเวลาเป็น เล่นอยู่ในความดูเเลของผู้ใหญ่
http://www.oknation.net/blog/guidekuzaa/2008/07/07/entry-1
..... อ่านต่อได้ที่: https://www.gotoknow.org/posts/254307